วันที่อบรม
|
สถานที่
|
ราคา
|
สมัครอบรม
|
---|---|---|---|
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวด ล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ.2547 หมวด 1 ข้อ 4 กำหนดไว้ว่า “ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างหรือบุคคลใดเข้าไปในที่อับอากาศ เว้นแต่นายจ้างได้ดำเนินการให้มีความปลอดภัยตามกฎกระทรวงนี้แล้ว และนายจ้างหรือบุคคลนั้นได้รับอนุญาตจากผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการอนุญาตตามข้อ 18 และเป็นผู้ผ่านการอบรมตามข้อ 21 เพื่อสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการที่ยอู่ในข่ายกฎหมายบังคับใช้ได้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามที่กำหนดไว้ จึงเปิดให้บริการอบรมหลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ได้แก่ “ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ”
ไม่มี
คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดเอกสาร
เวลา |
กิจกรรม/หัวข้ออบรม |
จำนวนเวลา |
วันที่ 1 | ทฤษฎี |
|
08.00 – 08.15 น. | ลงทะเบียน / เปิดการอบรม |
15 นาที |
08.15-08.30 | ทดสอบ (Pre-Test) |
15 นาที |
08.30 – 09.30 น. | กฏหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ |
1 ชม. |
09.30 – 10.30 น. | ความหมาย ชนิด ประเภท ของที่อับอากาศและอันตรายในที่อับอากาศ |
1 ชม. |
10.30-10.45 | พักทานอาหารว่าง |
15 นาที |
10.45 – 11.45 น. | การประเมินสภาพงานและการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ |
1 ชม. |
11.45 – 12.45 น. | รับประทานอาหารกลางวัน |
1 ชม. |
12.45 – 13.45 น. | วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย |
1 ชม. |
13.45 – 14.45 น. | อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ |
1 ชม. |
14.45-15.00 | พักทานอาหารว่าง |
15 นาที |
15.00 – 15.30 น. | ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิก การอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ |
30 นาที |
15.30 – 16.00 น. | บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ |
30 นาที |
วันที่ 2 | ทฤษฎี |
|
เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ
เทคนิคการระบายอากาศ อันตรายที่อาจได้รับกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกหนีภัย การดับเพลิงขั้นต้น |
1 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 30 นาที 30 นาที |
|
ภาคปฏิบัติ |
|
|
|
3 ชั่วโมง
|
397/39 อาคารรีเจ้นท์โฮม ชั้นที่ 3 ถนนเลียบคลองประปา แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพ ฯ 10900