หลักสูตรผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ ผู้ปฎิบัติงานในที่อับอากาศ

หลักการและเหตุผล

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวด ล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ.2547 หมวด 1 ข้อ 4 กำหนดไว้ว่า “ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างหรือบุคคลใดเข้าไปในที่อับอากาศ  เว้นแต่นายจ้างได้ดำเนินการให้มีความปลอดภัยตามกฎกระทรวงนี้แล้ว และนายจ้างหรือบุคคลนั้นได้รับอนุญาตจากผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการอนุญาตตามข้อ  18  และเป็นผู้ผ่านการอบรมตามข้อ 21  เพื่อสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการที่ยอู่ในข่ายกฎหมายบังคับใช้ได้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามที่กำหนดไว้  จึงเปิดให้บริการอบรมหลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ได้แก่  “หลักสูตรการฝึกอบรมผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ”

ข้อมูลหลักสูตร:
ระยะเวลาอบรม

24 ชั่วโมง (4 วันต่อเนื่อง)

จำนวนที่เปิดรับสมัคร

15

เอกสารประกอบการอบรม

มีเอกสาร

รายละเอียด

  • เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ.2547
  • เพื่อให้ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ที่มีหน้าที่ปฏิบัติงานตามคำสั่งของนายจ้างได้รับการฝึกอบรมวิธีการปฏิบัติงานในที่อับอากาศตามมาตรฐานหลักสูตรที่กฎหมายกำหนดไว้
  • ผู้เข้าอบรมต้องอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี บริบูรณ์
  • หลักฐานประกอบการสมัคร
วิทยากรที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
                                                กำหนดการอบรม หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
                             “หลักสูตรการฝึกอบรมผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ”
เวลา กิจกรรม/หัวข้ออบรม จำนวนเวลา
อบรมวันที่ 1
08.00 – 08.30 น ลงทะเบียน / ชี้แจงการฝึกอบรม 30 นาที
การทำแบบทดสอบก่อนการอบรม (Pre-Test)
08.30 – 9.30 น. ภาคทฤษฎี 1 ชม
(ก) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
09.30 – 10.30 น. (ข) ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และ อันตรายในที่อับอากาศ 1 ชม
10.30 – 10.45 น พักเบรก 15 นาที
10.45 – 12.00 น (ค) การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การ ประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อม ในการทำงานในที่อับอากาศ 1 ชม.
12.00 – 13.00 น พักกลางวัน 1 ชม
13.00 – 14.00 น (ง) วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและ ปลอดภัย 1 ชม.
14.00 – 15.00 น. (จ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต 1 ชม.
15.00 – 15.15 น พักเบรก 15 นาที
15.15 – 15.45 น (ฉ) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการ ขอยกเลิกการอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และการตัด แยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย 30 นาที
15.45 – 16.15 น. (ช) บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วย เหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ 30 นาที
เวลา กิจกรรม/หัวข้ออบรม จำนวนเวลา
อบรมวันที่ 2
08.00 – 08.30 น ลงทะเบียน 30 นาที
08.30 – 9.30 น. (ซ) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศรวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ 1 ชม
09.30 – 10.30 น. (ฌ) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ 1 ชม
10.30 – 10.45 น พักเบรก 15 นาที
10.45 – 11.15 น (ญ) การสั่งให้หยุดทำงานชั่วคราว 30 นาที
11.15 – 12.00 น (ฎ) การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศ 30 นาที
12.00 – 13.00 น พักกลางวัน 1 ชม
13.00 – 14.00 น (ฏ) อันตรายที่อาจได้รับกรณีฉุกเฉินและวิธีการหลีกหนีภัย 1 ชม.
14.00 – 15.00 น. (ฐ) การช่วยเหลือและช่วยชีวิต 1 ชม.
15.00 – 15.15 น พักเบรก 15 นาที
15.15 – 16.15 น (ฑ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจ 1 ชม.
หรือหัวใจหยุดเต้น (CPR)
เวลา กิจกรรม/หัวข้ออบรม จำนวนเวลา
อบรมวันที่ 3
08.00 – 08.30 น ลงทะเบียน 30 นาที
08.30 – 9.30 น. (ฑ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจ 1 ชม
หรือหัวใจหยุดเต้น (CPR) (ต่อ)
09.30 – 10.30 น. (ฒ) เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย 1 ชม
10.30 – 10.45 น พักเบรก 15 นาที
10.45 – 12.00 น (ณ) การควบคุมดูแลการใช้เครื่องป้องกันและอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล 1 ชม.
12.00 – 13.00 น พักกลางวัน 1 ชม
13.00 – 14.00 น ภาคปฏิบัติ 1 ชม.
(ก) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ รวมทั้งการใช้และการตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
14.00 – 15.00 น. (ข) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบายอากาศในที่อับอากาศ 1 ชม.
15.00 – 15.15 น พักเบรก 15 นาที
15.15 – 16.15 น (ค) เทคนิคการตรวจสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต 1 ชม.
เวลา กิจกรรม/หัวข้ออบรม จำนวนเวลา
อบรมวันที่ 4
08.00 – 08.30 น ลงทะเบียน 30 นาที
08.30 – 9.00 น. (ง) เทคนิคในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ 30 นาที
09.30 – 10.30 น. (จ) การอนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการสื่อสาร 1 ชม
10.30 – 10.45 น พักเบรก 15 นาที
10.45 – 11.30 น (ฉ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ 45 นาที
11.30 – 12.15 น (ช) การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตในที่อับอากาศ 45 นาที
12.15 – 13.15 น พักกลางวัน 1 ชม
13.15 – 14.15 น (ซ) การช่วยเหลือและช่วยชีวิต 1 ชม.
14.15 – 15.15 น. (ฌ) การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจ 1 ชม.
หรือหัวใจหยุดเต้น (CPR)
15.15 – 15.30 น พักเบรก 15 นาที
15.30 – 16.30 น (ญ) สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศในสภาพปกติ และกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน 1 ชม.
16.30 – 17.00 น ทำแบบทดสอบหลังการอบรม (Post-test) 30 นาที
มอบวุฒิบัตร
ระยะเวลาอบรม      24 ชั่วโมง 4 วันต่อเนื่อง  /  ระยะเวลาเข้ารับการอบรม 100 %
วิธีการฝึกอบรม บรรยาย / สื่อ power point / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ/ สถานการณ์จำลอง
วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล ผลการทดสอบก่อน – หลังการอบรม
เอกสารประกอบการเข้าอบรมของ ผู้เข้ารับการอบรม
1. สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบรับรองแพทย์
3. สำเนาหนังสือรับรอง ใบรับรอง หรือวุฒิบัตรการดับเพลิงขั้นต้น
วิทยากรบรรยาย      วิทยากรที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
-การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ผู้เข้าอบรม ไม่เกิน 30 ท่าน ต่อ วิทยากร 1 ท่าน
-การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้เข้าอบรม ไม่เกิน 15 ท่าน ต่อ วิทยากร 1 ท่าน

บรรยาย / สื่อ power point / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ/ สถานการณ์จำลอง

ทดสอบก่อน – หลังการอบรม / ระยะเวลาเข้ารับการอบรม 100%

วุฒิบัตรผ่านการอบรม
  • สำเนาบัตรประชาชน
  • สำเนาหนังสือรับรอง ใบรับรอง หรือวุฒิบัตรการดับเพลิงขั้นต้น
  • ใบรับรองแพทย์ และใบรับรองแพทย์ ต้องไม่เกิน 6 เดือน  จะต้องให้แพทย์ระบุว่า … มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นที่แพทย์เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อผู้เข้ารับการอบรม และสามารถทำงานในที่อับอากาศได้
  • แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ (ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี)

หลักสูตรที่เกี่ยวข้อง

สมัครอบรม

ข้อมูลหลักสูตร
ข้อมูลผู้สมัคร
ข้อมูลอื่นๆ

**รายละเอียด และเงื่อนไขในการอบรม**

**ชำระก่อนวันอบรม 5-7 วัน ในวันและเวลาทำการ ( วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 08:30 - 16:30 น. ) ก่อนวันอบรม บัญชีในการโอนค่าอบรม
เลขที่บัญชี
บริษัท เพอร์เฟคเซฟตี้เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลติ้ง จำกัด
ธนาคารกสิกรไทย สาขา เทสโก้ โลตัส ประชาชื่น
เลขที่ 954-2-09698-2
ส่งหลักฐารการชำระ ทาง : Line id : 092-242-4645, 065-095-4152 หรือ mail : [email protected]

ข้อมูลผู้ประสานงาน
ข้อมูลค่าอบรม

16/10/2567-19/10/2567,ศูนย์ฝึกปฎิบัติการ บริษัท เพอร์เฟคเซฟตี้เทรนนิ่งฯ,7500 28/10/2567-31/10/2567,อาคาร 20 ปี ศูนย์วิจัยทางการแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ไทยฯ ปทุมธานี,7500